รากหญ้าคามีสารสกัดเมทานอล หลายชนิด ประกอบด้วย 5-hydroxy-2-(2-phenylethyl) chromone , 5-hydroxy-2-[2-(2-hydroxyphenyl) ethyl] chromone , flidersiachromone และ hydroxy-2-styrylchromone ซึ่งพบว่าสาร 5-hydroxy-2(2-phenylethy) chromone และ 5-hydroxy-2-[2-(2-hyroxyphenyl) ethyl] chromone สามารถป้องกันพิษต่อเยื่อหุ้มเซลล์ประสาทได้ และ สารประกอบฟินอลิก อิมพิรานิน ( imperanene ) ในรากหญ้าคา สามารถยับยั้งการเกาะตัวกันของเกร็ดเลือด
หญ้าคา วัชพืช มีประโยชน์หลากหลาย สมุนไพร ลักษณะของหญ้าคาเป็นอย่างไร สารในหญ้าคา สรรพคุณของหญ้าคา ช่วยขับปัสสาวะ รักษาหนองใน รักษานิ่ว โทษของหญ้าคามีอะไรบ้าง ต้นหญ้าคา ภาษาอังกฤษ เรียก Alang-alang หรือ Blady grass ชื่อวิทยาศาสตร์ของหญ้าคา คือ Imperata cylindrica…