ฝีในสมอง Brain abscess การติดเชื้อที่สมองจนเกิดฝี เกิดจากการสำลักหรือรับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ความรุนแรงสูง ปวดหัว มีอาการชัก หมดสติ สูญเสียการควบคุมร่างกาย โรคฝีสมอง ( Brain abscess ) คือ ภาวะการติดเชื้อในสมองจนทำให้เกิดฝี โรคชนิดนี้เป็นโรคอันตรายมีความรุนแรงของโรคสูง การติดเชื้อภายในสมองและเนื้อเยื่อใกล้เคียง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้ารุกรานร่างกายทั้งทางตรงและทางอ้อม เข้าสู่สมองทางช่องทางต่างๆ ซึ่งเชื้อที่พบบ่อยสุด…
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เกิดจากการติดเชื้อและอุบัติเหตุที่สมองอย่างรุนแรง อาการปวดหัวอย่างรุนแรง ชักเกรง คลื่นไส้อาเจียน คอแข็ง ไม่ควรเขย่าเด็กอ่อน อันตรายถึงชีวิต โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ( Meningitis ) คือ ภาวะการติดเชื้อโรคต่างๆ เช่น เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย หรือ เชื้อรา บริเวณเยื่อหุ้มรอบสมองและไขสันหลัง รวมถึงการกระแทกอย่างรุนแรงที่สมอง ทำให้เยื่อหุ้มสมองอักเสบ อาการนี้พบมากในเด็กอ่อน…
เนื้องอกในสมอง การเกิดเนื้องอกที่สมอง ส่งผลต่อประสาทและสมอง อาการปวดหัวอย่างรุนแรง แขนขาอ่อนแรง สูญเสียการควบคุม การรักษาเนื้องอกในสมองทำอย่างไร โรคเนื้องอกในสมอง คือ ภาวะการเกิดเนื้องอกที่สมอง ส่งผลประทบต่อการทำงานของระบบประสาทและสมอง โรคนี้สามารถพบได้ทุกเพศ ทุกวัย มีความแตกต่างจากโรคมะเร็งในสมอง เป็นโรคร้ายแรงในอดีต ซึ่งปัจจุบันสามารถรักษาด้วยการผ่าตัดที่มีความปลอดภัยมาก ผลแทรกซ้อนจากการรักษาน้อย อาการบาดเจ็บของสมองลดลง พักฟื้นได้ในระยะสั้น ชนิดของเนื้องอกในสมอง สำหรับเนื้องอกในสมอง สามารถแบ่งได้เป็น…
สมองฝ่อ Brain atrophy เนื้อสมองเสื่อม ส่งผลต่อความจำ ภาวะเสี่ยงของผู้สูงวัย หลงลืมบ่อย ช่วยเหลือตัวเองได้ลดลง ความจำเสื่อม พฤติกรรมเปลี่ยนไป สมอง เป็นอวัยวะที่มีความสำคัญเนื่องจากเป็นศูนย์กลางการควบคุมอวัยวะ ความรู้สึก การทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย หากเกิดความเสียหายจะทำให้เกิดความผิดปกติต่างๆในร่างกายที่ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน พัฒนาการของสมอง เริ่มตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 25 ปี วัยเด็กจึงเป็นวัยที่สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆได้เร็วที่สุด สมองจะค่อยๆเติบโตไปเรื่อยๆจนอายุ 25…
อัมพฤกษ์กับอัมพาต เป็นความผิดปกติของสมอง ส่งผลต่อการควบคุมร่างกายและการรับความรู้สึก เกิดจากสมองขาดเลือด ทำให้เซลล์สมองถูกทำลาย อัมพฤกษ์และอัมพาตต่างกันอย่างไร ภาวะสมองขาดเลือด คือ สาเหตุของโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ( cerebrovascular accident ) สาเหตุของสมองขาดเลือด มีหลายสาเหตุ แต่เมื่อสมองขาดเลือดนานๆ หากสมองขาดเลือดชั่วคราว จะเกิดอัมพฤกษ์ แต่ หากสมองขาดเลืิอดนานกว่านั้น…
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่พอ ทำให้เจ็บหน้าอก หายใจไม่ออก เหนื่อยง่าย เวียนหัว เสี่ยงหัวใจวายตายได้ การรักษาและป้องกันได้หรือไม่ โรคหัวใจขาดเลือด หรือ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด คือ ความผิดปรกติของหัวใจจากการขาดเลือดไปเลี้ยงหัวใจ จากหลอดเลือดหัวใจถูกปิดกั้นจากคราบพลัค (Plaque) จนทำให้กล้ามเนื้อที่หัวใจเสื่อมสภาพและตายลง โรคนี้พบมากกลุ่มผู้สูงอายุ ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดแบบฉับพลัน ก็คือ ภาวะหัวใจวาย ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหัวใจ ประเภทของโรคหัวใจขาดเลือด…
ภาวะหัวใจเต้นเร็วหรือช้าผิดปกติ ทำให้มีอาการใจสั่น หน้ามืด เจ็บหน้าอก อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เป็นลมหมดสติ สาเหตุของโรคเกิด แนวทางการรักษาและการป้องกันทำอย่างไร โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ คือ ภาวะการเต้นของหัวใจผิดปรกติ ซึ่งปกติหัวใจจะมีอัตราการเต้นอยู่ที่ 60 ถึง 100 ครั้งต่อนาที หากหัวใจเต้นเร็วหรือช้ากว่าอัตรานี้ จะเกิดผลเสียต่อร่างกาย และ เกิดอาการผิดปรกติต่างๆ เกิดขึ้นโดยที่การเต้นของหัวใจห้องบนและห้องล่างไม่สัมพันธ์กัน การหยุดเต้นในบางเวลา…
ลิ้นหัวใจรั่ว การทำงานของลิ้นหัวใจผิดปรกติ มักเกิดกับเด็ก อาการอ่อนเพลีย ไม่มีแรง เสี่ยงหัวใจล้มเหลว อันตรายถึงเสียชีวิตได้ สาเหตุ การรักษาและป้องกันอย่างไร โรคลิ้นหัวใจรั่ว คือ ภาวะความผิดปรกติในของการทำงานของลิ้นหัวใจ การเกิดจากกล้ามเนื้อที่ลิ้นหัวใจเสื่อมเร็วกว่าปกติ ส่งผลต่อการทำงานของหัวใจไม่มีประสิทธิภาพ อาจทำให้หัวใจล้มเหลว เสียชีวิตได้ ผู้ป่วยโรคนี้จะมีการใช้ชีวิตที่ไม่ปรกติ ต้องระมัดระวังการใช้ชีวิตอย่างสูง สาเหตุของการเกิดโรคลิ้นหัวใจรั่ว สำหรับโรคนี้สาเหตุของการเกิดโรคมาจากความผิดปกติของหัวใจโดยกำเนิด เช่น…
อาการติดเชื้อที่เนื้อเยื่อบุหัวใจหรือลิ้นหัวใจ ทำให้อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ปวดหัว ปวดกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อกระดูก ปวดหลัง รักษาและป้องกันได้หรือไม่ เยื่อบุหัวใจอักเสบ ( Infective endocarditis ) คือ ภาวะเนื้อเยื่อบุหัวใจอักเสบ จากการติดเชื้อโรคที่หัวใจและลิ้นหัวใจ ทำให้เกิดอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อต่างๆ มีไข้สูง หนาวสั่น มีผื่นแดงตามแขนขา ปวดหลังและปัสสาวะเป็นเลือด ผู้ป่วยกลุ่มอาการโรคหัวใจที่มีโอกาสเสี่ยงเกิดโรคนี้ ดังนั้น ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคหัวใจ…
โรคหัวใจรูมาติก ไข้รูมาติก การติดเชื้อคออักเสบ ทำให้อวัยวะต่างๆอักเสบรวมถึงลิ้นหัวใจ อาการมีไข้ อ่อนเพลีย เจ็บหน้าอก หายใจหอบ กล้ามเนื้อกระตุก ผิวหนังมีผื่นแดง โรคหัวใจรูมาติก เป็นโรคที่พบบ่อยในประชากรไทย โดยเฉพาะเกิดกับเด็ก ซึ่งผู้ป่วยมักจะไม่ทราบมาก่อนว่าตนเองเป็นโรคหัวใจ รูมาติก โรคนี้ต้องใช้เวลานานกว่าจะทราบว่าตนเองป่วย โดยมากแล้วเด็กที่ป่วยโรคนี้มักมีที่อยู่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี การโภชนาการไม่ดี กลุ่มประเทศยากจนและประเทศกำลังพัฒนา จึงพบปัญหาโรคนี้บ่อย โรคหัวใจรูมาติก…