สมุนไพรช่วยขับลม แก้ท้องอืด ขับแก๊สในลำไส้ มีอะไรบ้าง

สมุนไพรช่วยขับลม พืชที่มีประโยชน์ช่วยขับแก๊สออกจากลำไส้ ทำให้ตดออกมา แก้ปัญหาอาการท้องอืดท้องฟ้อ แน่นท้อง สมุนไพรที่มีฤทธิ์ขับลมมีลักษณะอย่างไร

สมุนไพรสรรพคุณช่วยขับลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ

สมุนไพรที่มีสรรพคุณ ช่วยขับลมในกระเพาะอาหาร แก้ปัญหาอาการท้องอืด ท้องฟ้อ มีอะไรบ้าง ลดแก็สในลำไส้ พืชผักสมุนไพร สมุนไพรช่วยขับลม ทำให้สบายท้อง อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ เสียดท้อง อาหารไม่ย่อย สมุนไพรที่มีฤทธิ์ขับลม

บอระเพ็ด
ว่านโด่ไม่รู้ล้ม ขิง
ผักชี มะตูม
กระวาน พลูคาว
มะกรูด มะขาม
จันทน์เทศ ขมิ้น
ตังกุย กระชาย
ตะไคร้ ปลาไหลเผือก
เสลดพังพอน ดีปลี
มังคุด เจตมูลเพลิงแดง
ว่านดอกทอง จิงจูฉ่าย
ผักกระเฉด ผักชีฝรั่ง
เห็ดเข็มทอง ยี่หร่า
ลิ้นงูเห่า ผักตำลึง
เข็มแดง ลูกสำรอง
มะเฟือง แคนา
กระท้อน กระทือ
ส้มโอ ถั่วแดง
กระเจี๊ยบ ชะมวง
หม่อน มะเขือพวง
อ้อย เก็กฮวย
รากสามสิบ ยอ
ดีปลี ผักกระเฉด
ยี่หร่า ฟ้าทะลายโจร
มะลิ ผักแพว
มะยม ส้มแขก
กระเทียม ดอกกระเจียว
ฟักเขียว ข่อย
พริกขี้หนู สะเดา
กานพลู มะนาว
ดาวเรือง บัวบก
พริกไทย บอระเพ็ด
ตำลึง คื่นฉ่าย
ชะพลู มะขามป้อม
เตย ชะอม
มะระ มะรุม
หอมหัวใหญ่ มะพร้าว
มะละกอ อบเชย
สะระแหน่ มะกรูด
มะตูม มหาหงส์
มะกอก กุยช่าย
กระเพรา หอมแดง
ผักชีฝรั่ง โหระพา
กระถิน กระชาย
ทานาคา ชะมดต้น
ผักชี ขิง
ข่า มะขาม
เกลือ พิมเสน
ขมิ้นชัน การบูร
ชุมเห็ดเทศ น้ำผึ้ง
กำมะถันเหลือง ดินปะสิว
ตะไคร้ ว่านชักมดลูก
แมงลัก ทับทิม
  • ขี้เหล็กเทศ
  • กระดังงา
  • จันกระพ้อ
  • ชมจันทร์

การเกิดลมในกระเพาะอาหาร

ปัญหามีลมในกระเพาะอาหาร เกิดจากการมีแก๊สในช่องท้อง เกิดจากปัญหาต่างๆมากมายแก๊สในท้องเกิดได้อย่างไร ซึ่งกลไกการเกิดแก๊สในช้องท้องมี 2 สาเหตุ คือ ลมเข้าสู่ร่างกายทางการกลืนลม และ การสร้างแก๊สขึมามเองจากอาหารที่กินเข้าไป

  • การกลืนอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินอาหาร เกิดขึ้นจากการการกิน การดื่มน้ำ การเคี้ยวอาหาร และ การพูดในระหว่างกิน การกินอาหารเร็วๆ การเคี้ยวหมากฝรั่ง การสูบบุหรี่ และ การใส่ฟันปลอมที่ไม่พอดี ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินอาหาร แต่ร่างกายจะมีอาการขับออกทางการเรอ
  • การสร้างแก๊สขึ้นเอง การเกิดแก๊สในกระเพาะอาหารและระบบทางเดินอาหาร เกิดจากอาหารที่ทำปฏิกิริยากับกรดในกระเพาะอาหาร เช่น น้ำอัดลม ซึ่งร่างกายจะกำจัดแก๊อออกทางการเรอ

เมื่อเกิดแก๊สในลำไส้ ร่างกายจะมีกลไกการขับลมออก โดยการผายลมผ่านทางทวารหนัก และ การเรอ ปริมาณของแก๊ส และ กลิ่นของแก๊สในลำไส้ จะแตกต่างกันในแต่ละคน

อาหารที่ทำให้เกิดแก๊สในระบบทางเดินอาหาร

สำหรับอาหารที่ส่งผลต่อการสร้างแก๊สในระบบทางเดินอาหาร คือ อาหารที่มีแป้ง น้ำตาล และ ไขมันที่ย่อยยาก เมื่อเกิดการตกค้างในกระเพาะอาหาร จะทำให้เกิดแก๊ส และ ส่งผลต่ออาการท้องท้องอืด ท้องเฟ้อ และ แน่นท้อง

  • น้ำตาลที่ทำให้เกิดแก๊ส ได้แก้ น้ำตาลที่พบในพืช น้ำตาลในนม น้ำตาลในผลไม้ น้ำตาลจากขนมหวาน
  • แป้งที่ทำให้เกิดแก๊ส ได้แก่ แป้งจากมันฝรั่ง ข้าวโพด ข้าวสาลี เป็นต้น
  • การใยอาหารจากพืชที่ร่างกายย่อยไม่ได้ กากใยอาหารเหล่านี้ทำให้เกิดการหมักหมมในระบบทางเดินอาหาร เกิดแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ โดยร่างกายจะขับออกในรูปแบบอุจจาระ อาหารที่มีกากใยอาหาร เช่น ผัก ผลไม้ทุกชนิด

การดูแลตนเองเมื่อเกิดภาวะลมในช่องท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ

การดูแลตนเองเมื่อเกิดอาการท้องอืด มีลมในกระเพาะอาหาร ต้องปรับพฤติกรรมการบริโภคและการดำรงค์ชีวิต โดยรายละเอียด ดังนี้

  • ปรับพฤติกรรมการกินและดื่มน้ำ โดยลดอาหารที่มีไขมัน กินอาหารให้ช้าลง
  • หลังจากการกินอาหาร ให้ขยับร่างกาย เพื่อช่วยให้ลำไส้เคลื่อนตัว ช่วยให้แก๊สถูกกำจัดจากกระเพาะอาหารและลำไส้
  • การสวมเสื้อให้สวมใส่ที่ใส่สบายๆ ไม่รัดแน่น
  • เลิกสูบบุหรี่
  • เลิกการเคี้ยวหมากฝรั่ง

สาเหตุของการเกิดลมในกระเพาะอาหารเกิดจากพฤติกรรมการบริโภค เป็นสำคัญการลดอาหารที่ย่อยยาก และ เกิดการหมักหมมในกระเพาะอาหาร ให้เกิดแก๊ส