สมุนไพรแก้ปวด แก้อักเสบ ช่วยบรรเทาอาการปวด มีอะไรบ้าง

สมุนไพรแก้ปวด พืชที่มีประโยชน์ช่วยบรรเทาอาการปวดและอักเสบ แก้ปัญหาอาการต่างๆ เช่น อาการปวดตามตัว อาการอักเสบ ลักษณะของพืชที่แก้ปวดแก้อักเสบเป็นอย่างไร

สมุนไพรสรรพคุณแก้ปวด

สมุนไพรแก้ปวด มีประโยชน์ช่วยบรรเทาอาการปวด แก้อักเสบ เช่น อาการปวดตามตัว อาการปวดตามร่างกาย แก้ปวดเมื่อย สมุนไพรไทย การรักษาอาการปวด อาการเมื่อย อาการอักเสบ ต้องการฟื้นฟูร่างกาย จากอาการปวด กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ข้อ และ กระดูก

บอระเพ็ด ถั่วลิสง
ขิง ถั่งเช่า
ว่านชักมดลูก หญ้าขัดมอน
หมามุ่ย ดอกคำฝอย
มะตูม ว่านโด่ไม่รู้ล้ม
ผักชี บัวบก
พลูคาว มะระ
ฝรั่ง รากสามสิบ
กวาวเครือขาว เงาะ
ฟ้าทะลายโจร ทุเรียนเทศ
ตะลิงปลิง มะกรูด
ม้ากระทืบโรง ขมิ้น
หญ้าแพะหงี่ จันทน์เทศ
ฝาง กระชาย
ตังกุย กลิ้งกลางดง
ตะไคร้ ปลาไหลเผือก
หญ้าปักกิ่ง ดีปลี
ลำไย เสลดพังพอน
มังคุด เจตมูลเพลิงแดง
พิษนาศน์ หนุมานประสานกาย
ผักกระเฉด ผักชีฝรั่ง
ผักไชยา ลูกแพร์
ฟักแม้ว ยี่หร่า
ลิ้นงูเห่า ผักตำลึง
กระจับ บัวหลวง
ซ่อนกลิ่น หญ้าคา
ลูกสำรอง สับปะรด
เข็มแดง แคนา
ทับทิม มะเฟือง
แห้ว กระท้อน
บอน ส้มโอ
เงาะ บุกคางคก
ถั่วแดง ถั่วเขียว
ขนุน ถั่วเหลือง
กระเจี๊ยบ หญ้าขัด
อ้อย ดอกกระเจียว
ยี่หร่า ยางนา
งาดำ ไมยราบ
ยอ คำฝอย
มะเขือพวง รากสามสิบ
ถั่งเช่า กระเจี๊ยบเขียว
ผักกระเฉด มะลิ
หม่อน ดีปลี
ผักแพว ฟ้าทะลายโจร
โด่ไม่รู้ล้ม ฟักเขียว
มะเขือยาว มะยม
กระเทียม ชะคราม
ฟักข้าว ชะพลู
ข่อย พริกขี้หนู
ฝรั่ง ดาวเรือง
พลูคาว กานพลู
มะนาว ผักบุ้ง
พริกไทย เผือก
บอระเพ็ด เตย
ตำลึง คื่นฉ่าย
หอมหัวใหญ่ มังคุด
มะขามป้อม อบเชย
มะระ มะรุม
มะตูม มะพร้าว
มะกรูด มะกอก
กุยช่าย สะระแหน่
กวาวเครือขาว ผักชีฝรั่ง
มหาหงส์ กระเพรา
หอมแดง บัวบก
ผักชี โหระพา
กระชาย ทานาคา
ย่านาง ชะมดต้น
ตะไคร้ ขิง
ข่า ชุมเห็ดเทศ
ขมิ้นชัน หมามุ่ย
ม้ากระทืบโรง รกคน
กัญชง ดินขุยปู
น้ำผึ้ง หูฉลาม
ดินสอพอง น้ำตาล
ดีเกลือ บัลลังก์ศิลา
การบูร หินปะการัง
หินฟันม้า ดินรังหมาร่า
ดินเหนียว ว่านชักมดลูก

อาการปวด คือ อาการทางร่างกายเกิดจากการกระตุ้นประสาทรับความรู้สึก ทำให้รู้สึกเจ็บปวด เกิดจากเนื้อเยื่ออักเสบ ระคายเคือง  ได้รับบาดเจ็บ หรือ ถูกทำลายจากสาเหตุต่างๆ อวัยวะที่มักจะมีอาการปวด เช่น ศีรษะ ฟัน ท้อง หลัง และ ขา เป็นต้น

อาการอักเสบ ( Inflammation ) คือ ภาวะการถูกกระตุ้นที่เนื้อเยื้อหลอดเลือดซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพเนื้อเยื้อ เช่น ติดเชื้อโรค เซลล์ที่เสื่อมสภาพ การระคายเคือง การอักเสบเป็นอาการตอบสนองของร่างกาย เพื่อต่อต้านจุลชีพที่ทำให้เกิดโรค เช่น การบาดเจ็บ สารเคมี สิ่งแปลกปลอม หรือ ภูมิคุ้มกันต่อต้านตนเอง

ลักษณะของอาการปวด

อาการปวดจะเกิดขึ้นกับอวัยวะต่างๆ โดยสาเหตุและลักษณะของการปวด มีดังนี้

  • อาการปวดขาและเท้า อาการปวดลักษณะนี้ มักเกิดจากโรคเบาหวาน ทำให้เส้นประสาทที่ขาและเท้าเกิดความเสียหาย ทำให้มีอาการชาที่เท้า
  • อาการปวดน่อง การปวดน่องมาจากเส้นเลือดดำอุดตัน เส้นเลือดที่อุดตันทำให้เกิดอาการอักเสบของกล้ามเนื้อและหลอดเลือดบริเวณน่อง สังเกตุจาก ก้อนเลือดเล็กๆ บางครั้งจะปรากฏออกมาในรูปแบบของอาการบวม น่องตึง
  • อาการปวดท้อง สาเหตุมักเกิดจากการอักเสบของอวัยวะภายใน เช่น ถุงน้ำดีอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ กระเพาะเป็นแผล ลำไส้อุดตัน เป็นต้น
  • อาการปวดหลัง หากมีอาการปวดหลังส่วนล่าง หรือ ปวดสบัก มักเป็นอาการข้ออักเสบ กล้ามเนื้ออักเสบ ซึ่งอาการปวดจะค่อยๆปวดมากขึ้น
  • อาการปวดหรือแน่นหน้าอก มีอาการปวดลามไปถึง หน้าอก คอ ขากรรไกร ไหล่ แขน หรือ ท้อง เกิดได้จากหลายสาเหตุ หากปวดหน้าอกอาจเกี่ยวกับหัวใจ
  • อาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง ลักษณะอาการปวดแบบนี้เกี่ยวกับหลอดเลือดสมอง ต้องพบแพทย์โดยด่วน