สมุนไพรช่วยขับปัสสาวะ พืชที่กระตุ้นทำให้ฉี่ ขับของเสียหรือนิ่วทางการปัสสาวะ แก้ปัญหาปัสสาวะขัด ท่อปัสสาวะอักเสบ หนองใน ลักษณะของสมุนไพรเหล่านี้เป็นอย่างไร
สมุนไพรสรรพคุณกระตุ้นการปัสสาวะ
สมุนไพร สรรพคุณช่วยขับปัสสาวะ ทำให้ฉี่ กระตุ้นการปัสสาวะ ขับของเสียด้วยการปัสสาวะ พืชสมุนไพร แก้ปัญหาโรคด้วยปัสสาวะ เช่น โรคนิ้ว ท่อปัสสาวะอักเสบ หนองใน เป็นต้น สมุนไพรไทย พืชพื้นบ้าน สมุนไพรอะไรบ้าง ทำให้ปัสสาวะ รักษาด้วยสมุนไพรช่วยขับปัสสาวะ
ขิง | |
บัวบก | ว่านโด่ไม่รู้ล้ม |
กระชาย | ตะลิงปลิง |
ปลาไหลเผือก | ฝาง |
ดีปลี | ตะไคร้ |
ลำไย | เสลดพังพอน |
มังคุด | เจตมูลเพลิงแดง |
ลูกแพร์ | ผักชีฝรั่ง |
ผักตำลึง | ฟักแม้ว |
บัวหลวง | เสาวรส |
สับปะรด | หญ้าคา |
มะเฟือง | แคนา |
ทับทิม | กระทือ |
กล้วยน้ำว้า | บอน |
ถั่วแดง | ถั่วเขียว |
หญ้าขัด | ถั่วเหลือง |
กระเจี๊ยบ | อินทนิล |
อ้อย | หม่อน |
ไมยราบ | ยางนา |
รากสามสิบ | คำฝอย |
กระเจี๊ยบเขียว | มะเขือพวง |
ส้มแขก | โด่ไม่รู้ล้ม |
ดีปลี | ฟักเขียว |
มะเขือยาว | ฟักข้าว |
ชะคราม | ว่านหางจระเข้ |
มะยม | พริกขี้หนู |
สะเดา | กระเทียม |
พลูคาว | แตงกวา |
ข่อย | ผักบุ้ง |
แครอท | ดาวเรือง |
พริกไทย | ลูกเดือย |
มะนาว | มะเขือเทศ |
เตย | คื่นฉ่าย |
ฟักทอง | หอมหัวใหญ่ |
มะขามป้อม | มะตูม |
มะพร้าว | อบเชย |
มะกอก | กุยช่าย |
มะละกอ | กระชาย |
ผักชีฝรั่ง | บัวบก |
ย่านาง | หมามุ่ย |
หอมแดง | เกลือ |
สารส้ม | ผักโขม |
ดีเกลือ | ชุมเห็ดเทศ |
อัญชัน | แก้วแกลบ |
ตะไคร้ | ขิง |
|
อาการปัสสาวะขัด คือ อาการปัสสาวะไม่ออก ทำให้เกิดความทรมานกับผู้เกิดอาการผิดปรกติ ซึงอาการปัสสาวะขัดนั้น สามารถแยกสาเหตุได้ 3 ลักษณะ คือ
- ปัสสาวะขัดจากกระเพาะปัสสาวะอักเสบ อาการ คือ ปัสสาวะออกทีละน้อย และ ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะขุ่น กลิ่นแรง เจ็บที่ท้องน้อย
- ปัสสาวะขัดจากกรวยไตอักเสบ อาการ คือ ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะน้อยและขุ่น คลื่นไส้อาเจียน มีไข้ หนาวสั่น และ ปวดหลัง
- ปัสสาวะขัดจากท่อปัสสาวะอักเสบ อาการ คืิอ ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะน้อย และ มีของเหลวออกมาจากท่อปัสสาวะ
- ปัสสาวะขัดจากช่องคลอดอักเสบ อาการ คือ ปัสสาวะไม่ออก เจ็บ และ คันที่อวัยวะเพศ
ซึ่งสาเหตุของการปัสสาวะขัดนั้น สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ การปัสสาวะขัดจากการติดเชื้อ และ การปัสสาวะขัดจากการปักเสบ
ระบบการขับถ่ายของร่างกาย
การขับของเสียออกจากร่างกายของเรานั้น มีวัตถุประสงค์ 2 ลักษณะ คือ การรักษาระดับน้ำในร่างกายให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม เป็นการรักษาสมดุลย์ของร่างาบ และ การขับสารพิษออกจากร่างกายผ่านทางช่องทางต่างๆ
ชนิดของของเสียในร่างกาย
ร่างกายจะขับของเสีอออกจากร่างกาย เพื่อรักษาสมดุลย์ของร่างกาย ซึ่งช่องทางการขับของเสีย เช่น ทางผิวหนัง ปาก จมูก รูทวารหนักและท่อปัสสวะ ชนิดของของเสียที่ออกจากร่างกายเรานี้มี 3 ชนิด คือ ของแข็ง แก็สและของเหลว โดยรายละเอียดดังนี้
- ของเสียรูปแบบของแข็ง จะถูกขับออกจากร่างกายด้วยระบบขับถ่าย ผ่านทางระบบการย่อยอาหาร เรียก อุจจาระ
- ของเสียรูปแบบแก๊ส สำหรับการขับแก๊สออกจากร่างกาย จะถูกขับออกทาง ผิวหนัง การหายใจ และ การขับลมผ่านรูทวารหนัก
- ของเสียรูปแบบของเหลว การขับของเหลวออกจากร่างกาย จะถูกขับบในรูปแบบเหงื่อ และ ปัสสาวะ โดยอวัยวะที่ขับของเสียประเภทของเหลว คือ ไตและผิวหนัง
ประโยชน์ของการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย
การกำจัดของเสียช่วยรักษาความสมดุลย์ของร่างกาย เช่น ควบคุมระดับน้ำในร่างกายให้สมดุลย์ รวมถึงหากมีสิ่งแปลกปลอมร่างกายก้สามารถขับของเสีย ออกทางช่องทางต่างๆ ตามข้างต้น ซึ่งหากระบบการขับของเสียไม่สามารถทำงานได้ตามปรกติ ร่างกายก็จะเกิดการสะสมของเสียในร่างกาย ทำให้ร่างกายและอวัยวะอื่นๆได้รับของเสีย ส่งผลต่อการทำงานของร่างกายทั้งระบบ
แนวทางการดูแลร่างกายให้มีระบบขับถ่ายที่สมบูรณ์
- หมั่นดื่มน้ำสะอาด ในปริมาณที่เหมาะสม
- กินอาหารที่สะอาดถูกสุขอนามัย
- หากปวดปัสสาวะหรืออุจจาระ ต้องไม่กลั้นอุจจาระหรือปัสสาวะนานเกินไป
- รูทวารและท่อปัสสาวะ ต้องรักษาความสะอาดชำระล้างอย่างสม่ำเสมอ
- หมั่นออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
Last Updated on November 7, 2024