สมุนไพรบำรุงกระดูก พืชมีประโยชน์ต่อไขข้อและกระดูก ลดการเสื่อมของไขข้อตามวัย แคลเซียมสูง ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟัน ลักษณะของสมุนไพรบำรุงกระดูกเป็นอย่างไร
สมุนไพรสรรพคุณบำรุงกระดูก
สมุนไพรบำรุงกระดูก มีประโยชน์ต่อระบบไขข้อและกระดูก พืชพื้นบ้าน แคลเซียมสูง สมุนไพรรักษาโรคข้อ สมุนไพรรัษากระดูก กระดูกเสื่อม ปวดเข่า ปวดหลัง ปวดข้อ หมอนรองกระดูก สมุนไพรกระดูกเสื่อม สมุนไพรแก้กระดูกพรุน สมุนไพรรักษากระดูกหัก สมุนไพรบํารุงข้อเข่าเสื่อม ผักบํารุงกระดูก บำรุงกระดูก
ถั่วลิสง | |
หญ้าขัดมอน | ขิง |
พลูคาว | ว่านชักมดลูก |
กวาวเครือขาว | รากสามสิบ |
ขมิ้น | ตะลิงปลิง |
จันทน์เทศ | ม้ากระทืบโรง |
กระชาย | หญ้าแพะหงี่ |
ตะไคร้ | ปลาไหลเผือก |
ลำไย | ดีปลี |
มังคุด | เจตมูลเพลิงแดง |
ผักกระเฉด | ผักชีฝรั่ง |
ผักไชยา | ลูกแพร์ |
เสาวรส | ผักตำลึง |
กระจับ | บัวหลวง |
กระทือ | มะเฟือง |
ส้มโอ | ทับทิม |
ถั่วแดง | ถั่วเขียว |
หญ้าขัด | ถั่วเหลือง |
คะน้า | กระเจี๊ยบเขียว |
หม่อน | แก้วมังกร |
ไมยราบ | ยางนา |
คำฝอย | งาดำ |
ว่านชักมดลูก | ยอ |
ดีปลี | ผักกระเฉด |
ฟักข้าว | ผักแพว |
มะเขือยาว | ตำลึง |
กระเทียม | ชะอม |
พริกขี้หนู | ชะคราม |
ข่อย | ผักบุ้ง |
ดาวเรือง | พลูคาว |
พริกไทย | ลูกเดือย |
มะนาว | บอระเพ็ด |
เผือก | แครอท |
คื่นฉ่าย | ชะพลู |
เห็ดหอม | อบเชย |
มะรุม | หอมหัวใหญ่ |
มะละกอ | มะพร้าว |
กระถิน | กวาวเครือขาว |
มะกอก | กุยช่าย |
ผักชี | กระชาย |
ผักชีฝรั่ง | ดีเกลือ |
กระเพาะปลา | รังนกนางแอ่น |
น้ำผึ้ง | หูฉลาม |
รกคน | ขมิ้นชัน |
ย่านาง | ชะมดต้น |
แมงลัก | ซ่อนกลิ่น |
โรคเกี่ยวกับข้อและกระดูก คือ ภาวะโรคที่มีผลกระทบต่อระบบกระดูกและข้อ ที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวร่างกายโดยตรง ผู้ป้วยโรคข้อและกระดูก จะได้รับความเจ็บปวด ซึ่งสาเหตุของโรคข้อและกระดูก มักเกิดจากความเสื่อมของระบบข้อและกระดูก จากการเสื่อมตามวัย หรือ โดยกระแทกจากอุบัติเหตุ
แคลเซียม
สารอาหารที่บำรุงกระดูกของมนุษย์ คือ แคลเซียม ซึ่งแคลเซียมจะอยู่ในผักและเนื้อสัตว์ แคลเซียมสามารถพบได้ทั่วไปตามธรรมชาติ แร่ธาตุชนิดนี้ทำหน้าที่ช่วยกระตุ้นการผลิตฮอร์โมนในร่างกาย
ประโยชน์ของแคลเซียม
กระดูกและฟันของมนุษย์ มีแคลเซียมทำให้กระดูกและฟันแข็งแรงเป็นส่วนประกอบที่ช่วยให้เลือดแข็งตัว สำหรับประโยชน์ของแคลเซียม มีดังนี้
- ช่วยกระตุ้นระบบประสาทส่วนของกล้ามเนื้อ
- ช่วยควบคุมการยืดหยุ่นและหดตัวของกล้ามเนื้อ
- ช่วยกระตุ้นการทำงานของโปรตีน
- หน้าที่สร้างและสลายกระดูก ทำให้มวลกระดูกเพิ่มขึ้น
- ช่วยควบคุมความระดับกรดด่างภายในร่างกาย
โทษของแคลเซียม
ในการมีระดับแคลเซียมในร่างกายที่ไม่เหมาะสมต่อความต้องการของร่างกาย ไม่ว่าร่างกายจะมีแคลเซียมมากเกินไป หรือ ร่างกายขาดแคลเซียม ซึ่งภาวะเหล่านี้ทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย โดยรายละเอียด ดังนี้
- โทษของแคลเซียมหากมีแคลเซียมมากเกินไป จะเกิดภาวะเสี่ยงเป็นโรคหัวใจขาดเลือด โรคนิ่วในไต สำหรับผู้สูงอายุที่รับประทานแคลเซียมมากเกินไป อาจทำให้หัวใจวายได้ แคลเซียมในเลือดที่เพิ่มสูงขึ้นเกินกว่าระดับความต้องการของร่างกายเป็นอันตรายต่อความสมดุลของกรดและเบสในร่างกาย
- โทษของแคลเซียมหาดร่างกายขาดแคลเซียม ร่างกายที่มีแคลเซียมไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเกี่ยวกับกระดูก เช่น ภาวะกระดูกอ่อน โรคกระดูกพรุน ข้อรูมาตอยด์ ข้ออักเสบ และข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น ทำให้เกิดความทุกข์ทรมานต่อร่างกายมากมาย
ความเสื่อมของกระดูก อายุที่มากขึ้นยิ่งเสี่ยงต่อการเสื่อมสภาพของกระดูก ทำให้กระดูกเกิดการเสื่อมสลายอย่างต่อเนื่อง มวลกระดูกลดลงเรื่อยๆ เป็นอันตรายต้องป้องกัน เพราะ การรักษาโรคภายหลังจากการเกิดโรคทำยากกว่า
Last Updated on November 7, 2024