สมุนไพรไทย 108 ชนิด พืชยาพื้นบ้านเพื่อสุขภาพ พร้อมสรรพคุณ

สมุนไพรไทย พร้อมสรรพคุณ ข้อมูลทั่วไป สรรพคุณ ประโยชน์และโทษเป็นอย่างไร สุดยอดสมุนไพรพื้นบ้านโบราณ 108 ชนิด ยา สมุนไพรไทยรักษาโรค เรียนรู้เพื่อสุขภาพของเราเอง

สมุนไพร สมุนไพรไทย สมุนไพรพื้นบ้าน สมุนไพรรักษาโรค

สมุนไพรไทย พืชพื้นบ้านใกล้ตัว ภูมิปัญญาการรักษาโรคจากธรรมชาติ สรรพคุณและโทษ พืชเพื่อการรักษาโรคต่างๆมีประโยชน์อย่างไร ลักษณะทั่วไป คุณค่าทางโภชนาการ เป็นต้น

ประเภทของสมุนไพร

การนำเอาทรัพยากรทางธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ด้านการรักษาโรคนั้นมีหลากหลาย ซึ่งการแบ่งประเภทของสมุนไพรไทย สามารถแบ่งได้หลายแบบ เริ่มตั้งแต่ แบ่งตามสรรพคุณในการรักษาโรค แบ่งตางลักษณะของพืช หรือ แบ่งตามที่มา ซึ่งเราสามารถแบ่ง ได้ 3 ลักษณะ คือ พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่นำมาใช้รักษาโรคได้ โดยรายละเอียด มีดังนี้

ประเภทของสมุนไพรแบ่งตามลักษณะของวัตถุดิบ

พืชสมุนไพร คือ พืชที่มีประโยชน์ในการบำรุงร่างกายและการรักษาโรค ซึ่งพืชเป็นวัตถุดิบในการนำมาทำพืชเพื่อการรักษาโรคมากที่สุด และยังสามารถแบ่งได้อีกมากมาย มีดังนี้

ถั่วลิสง สมุนไพร สรรพคุณของถั่วลิสง ถั่วลิสง
บอระเพ็ด สมุนไพร สรรพคุณของบอระเพ็ด บอระเพ็ด ถั่งเช่า สมุนไพร สรรพคุณของถั่งเช่า ถั่งเช่า
หญ้าขัดมอน สมุนไพร สรรพคุณของหญ้าขัด หญ้าขัดมอน ขิง สมุนไพร สรรพคุณของขิง ขิง
ข้าว ธัญพืช สรรพคุณของข้าว ข้าว ว่านหางจระเข้ สมุนไพร สรรพคุณว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้
ดอกคำฝอย สมุนไพร สรรพคุณของคำฝอย ดอกคำฝอย ว่านชักมดลูก สมุนไพร ว่านชักมดลูก
โด่ไม่รู้ล้ม สมุนไพร สรรพคุณของโด่ไม่รู้ล้ม ว่านโด่ไม่รู้ล้ม หมามุ่ย สมุนไพร สรรพคุณหมามุ่ย หมามุ่ย
ผักชี สมุนไพร ผักสวนครัว ผักชี มะตูม สมุนไพร สรรพคุณของมะตูม มะตูม
แก้วมังกร ผลไม้ สมุนไพร แก้วมังกร มะระ สมุนไพร สรรพคุณของมะระ มะระ
กระวาน สมุนไพร เครื่องเทศ กระวาน พลูคาว สมุนไพร สมุนไพรไทย พลูคาว
ฝรั่ง สมุนไพร ผลไม้ สรรพคุณของฝรั่ง ฝรั่ง รากสามสิบ สมุนไพร สรรพคุณรากสามสิบ รากสามสิบ
เงาะ ผลไม้ สมุนไพร  เงาะ กล้วย สมุนไพร ผลไม้ สรรพคุณกล้วย กล้วย
มะขาม สมุนไพร สมุนไพรไทย ผลไม้ มะขาม กวาวเครือขาว สมุนไพร สมุนไพรนมโต กวาวเครือขาว
ทุเรียนเทศ สมุนไพร สมุนไพรไทย สรรพคุณทุเรียนเทศ ทุเรียนเทศ โสม สมุนไพร สมุนไพรไทย สรรพคุณโสม โสม
มะกรูด สมุนไพร สรรพคุณของมะกรูด สมุนไพรไทย มะกรูด ฟ้าทะลายโจร สมุนไพร สมุนไพรไทย สรรพคุณของฟ้าทะลายโจร ฟ้าทะลายโจร
ขมิ้น สมุนไพร สมุนไพรไทย ขมิ้น ตะลิงปลิง ผลไม้ สมุนไพร สรรพคุณของตะลิงปลิง ตะลิงปลิง
ม้ากระทืบโรง สมุนไพร สรรพคุณของม้ากระทืบโรง ม้ากระทืบโรง มะละกอ สมุนไพร ผลไม้ สรรพคุณของมะละกอ มะละกอ
หญ้าแพะหงี่ สมุนไพร สมุนไพรเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ สมุนไพรบำรุงกำลัง หญ้าแพะหงี่ จันทน์เทศ จันทน์หอม สมุนไพร สรรพคุณของจันทน์เทศ จันทน์เทศ
ฝาง สมุนไพร สรรพคุณของฝาง ฝาง กระชาย สมุนไพร โสมไทย กระชาย
ตังกุย โกฐเชียง สมุนไพร สรรพคุณของตังกุย ตังกุย กลิ้งกลางดง สมุนไพร สรรพคุณของกลิ้งกลางดง กลิ้งกลางดง
ตะไคร้ สมุนไพร สรรพคุณของตะไคร้ ตะไคร้ ปลาไหลเผือก พญารากเดี่ยว สมุนไพร สรรพคุณปลาไหลเผือก ปลาไหลเผือก
หญ้าปักกิ่ง หญ้าเทวดา สมุนไพร สรรพคุณของหญ้าปักกิ่ง หญ้าปักกิ่ง ดีปลี สมุนไพร สรรพคุณของดีปลี ดีปลี
อโวคาโด้ สมุนไพร ผลไม้ สรรพุคณของอะโวคาโด้ อะโวคาโด้ เสลดพังพอน สมุนไพร พืชท้องถิ่น สรรพคุณของเสลดพังพอน เสลดพังพอน
เจตมูลเพลิงแดง สมุนไพรไทย สรรพคุณเจตมูลเพลิงแดง เจตมูลเพลิงแดง ลำไย ผลไม้ สมุนไพร สรรพคุณของลำไย ลำไย
มังคุด ผลไม้ สมุนไพร สรรพคุณของมังคุด มังคุด ทุเรียน ผลไม้ สมุนไพร สรรพคุณของทุเรียน ทุเรียน
หนุมานประสานกาย สมุนไพร ไม้กันยุง สรรพคุณของหนุมานประสานกาย หนุมานประสานกาย จิงจูฉ่าย สมุนไพร ผักสวนครัว สรรพคุณของจิงจูฉ่าย จิงจูฉ่าย
พิษนาศน์ ต้นพิษนาศน์ สมุนไพร พิษนาศน์ ว่านดอกทอง ว่านหมาเสน่ห์ สมุนไพร พืชมงคล ว่านดอกทอง
ผักชีฝรั่ง สมุนไพร ผักสวนครัว สรรพคุณของผักชี ผักชีฝรั่ง หญ้าหวาน สมุนไพร ลดความอ้วน สรรพคุณของหญ้าหวาน หญ้าหวาน
ลูกแพร์ ผลไม้ สมุนไพร สรรพคุณของลูกแพร์ ลูกแพร์ ผักกระเฉด ผักสวนครัว สมุนไพร สรรพคุณของผักกระเฉด ผักกระเฉด
ยี่หร่า เครื่องเทศ สมุนไพร สรรพคุณของยี่หร่า ยี่หร่า ผักชายา ผักไชยา ต้นผงูรส คะน้าเม็กซิโก ผักไชยา
เห็ดเข็มทอง สมุนไพร สมุนไพรไทย สรรพคุณของเห็ดเข็มทอง เห็ดเข็มทอง ฟักแม้ว มะระหวาน สมุนไพร พืชสวนครัว ฟักแม้ว
กระเพรา สมุนไพร สรรพคุณของกระเพรา สมุนไพรไทย กระเพรา ผักตำลึง สมุนไพร พืชสวนครัว ตำลึง ผักตำลึง
ลิ้นงูเห่า สมุนไพร หญ้าลิ้นงูเห่า ลิ้นงูเห่า พริก สมุนไพร สรรพคุณของพริก สมุนไพรไทย พริก
บัวหลวง สมุนไพร สรรพคุณของบัวหลวง บัวหลวง เสาวรส กระทกรกฝรั่ง สมุนไพร สรรพคุณของเสาวรส เสาวรส
หญ้าคา สมุนไพร สรรพคุณของหญ้าคา หญ้าคา กระจับ สมุนไพร สรรพคุณของกระจับ กระจับ
สับปะรด สมุนไพร ผลไม้ สรรพคุณของสับปะรด สับปะรด ซ่อนกลิ่น ลั่นทม สมุนไพร สรรพคุณของซ่อนกลิ่น ซ่อนกลิ่น
สำรอง สมุนไพร ลูกสำรอง ลูกสำรอง แมงลัก ใบแมงลัก สมุนไพร แมงลัก
แคนา ดอกแค สมุนไพร สรรพคุณของต้นแค แคนา ท้ายยายม่อม สมุนไพร สรรพคุณของท้าวยายม่อม ท้าวยายม่อม
มะเฟือง สมุนไพร ผลไม้ สรรพคุณของมะเฟือง มะเฟือง เข็มแดง สมุนไพร สรรพคุณของเข็มแดง เข็มแดง
กระท้อน ผลไม้ สมุนไพร สรรพคุณของกระท้อน กระท้อน กระทือ สมุนไพร สรรพคุณของกระทือ กระทือ
ส้มโอ ผลไม้ สมุนไพร สรรพคุณส้มโอ ส้มโอ แห้ว สมุนไพร สรรพคุณแห้ว แห้ว
กล้วยน้ำว้า สมุนไพร ผลไม้ สรรพคุณของกล้วยน้ำว้า กล้วยน้ำว้า บอน สมุนไพร สรรพคุณของบอน บอน
เงาะ ผลไม้ สมุนไพร สรรพคุณของเงาะ เงาะ บุก สมุนไพร สรรพคุณบุก บุกคางคก
ถั่วแดง ธัญพืช สมุนไพร สรรพคุณถั่วแดง ถั่วแดง ถั่วเขียว สมุนไพร ธัญพืช สรรพุคณถุ่วเขียว ถั่วเขียว
ขนุน ผลไม้ สมุนไพร สรรพคุณของขนุน ขนุน ถั่วเหลือง สมุนไพร พืชตระกูลถั่ว สรรพคุณของถั่วเหลือง ถั่วเหลือง
อินทนิล พืชดอกสวย สมุนไพร สรรพคุณของอินทนิล อินทนิล หญ้าขัด สมุนไพร สรรพคุณของหญ้าขัด หญ้าขัด
ผักคะน้า พืชสวนครัว สมุนไพร สรรพคุณของคะน้า คะน้า กระเจี๊ยบ สมุนไพร พืชสวนครัว สรรพคุณของกระเจี๊ยบ กระเจี๊ยบ
ชะมวง สมุนไพร ใบชะมวง สรรพคุณของชะมวง ชะมวง แก้วมังกร สมุนไพร สรรพคุณของแก้วมังกร แก้วมังกร
อ้อย สมุนไพร สรรพคุณของอ้อย อ้อย เก๊กฮวย สมุนไพร สรรพคุณของเก็กฮวย เก็กฮวย
ไมยราบ สมุนไพร สรรพคุณของไมยราบ ไมยราบ ยางนา สมุนไพร สรรพคุณของยางนา ยางนา
ดอกคำฝอย คำฝอย สมุนไพร สรรพคุณของคำฝอย คำฝอย งาดำ สมุนไพร สรรพคุณของงาดำ งาดำ
ยอ สมุนไพร สมุนไพรไทย ยอ ปีบ กาสะลอง สมุนไพร สมุนไพรไทย ปีบ
มะเขือพวง สมุนไพร สมุนไพรไทย มะเขือพวง รากสามสิบ สมุนไพร สมุนไพรไทย รากสามสิบ
ถั่งเช่า สมุนไพร สมุนไพรไทย ถั่งเช่า กระเจี๊ยบเขียว สมุนไพร สมุนไพรไทย กระเจี๊ยบเขียว
ผักกระเฉด สมุนไพร สมุนไพรไทย ผักกระเฉด ว่านชักมดลูก สมุนไพร สมุนไพรไทย ว่านชักมดลูก
หม่อน มัลเบอร์รี่ สมุนไพร สมุนไพรไทย หม่อน ดีปลี สมุนไพร สรรพคุณของดีปลี ดีปลี
โด่ไม่รู้ล้ม สมุนไพร สมุนไพรไทย โด่ไม่รู้ล้ม มะลิ สมุนไพร สมุนไพรไทย มะลิ
ยี่หร่า สมุนไพร สมุนไพรไทย ยี่หร่า ฟ้าทะลายโจร สมุนไพร สมุนไพรไทย สรรพคุณฟ้าทะลายโจร ฟ้าทะลายโจร
ผักแพว สมุนไพร สมุนไพรไทย ผักแพว ส้มแขก สมุนไพร สมุนไพรไทย ส้มแขก
ฟักเขียว สมุนไพร สมุนไพรไทย ฟักเขียว มะเขือยาว สมุนไพร สมุนไพรไทย มะเขือยาว
มะยม สมุนไพร สมุนไพรไทย มะยม ฟักข้าว สมุนไพร สมุนไพรไทย ฟักข้าว
ว่านหางจระเข้ สมุนไพรไทย สมุนไพร ว่านหางจระเข้ กระเจียว สมุนไพร สมุนไพรไทย ดอกกระเจียว
ชะคราม สมุุนไพร วัชพืช สรรพคุณของชะคราม ชะคราม ทับทิม สมุนไพร ผลไม้ สรรพคุณของทับทิม ทับทิม
ทุเรียน ผลไม้ สมุนไพร สรรพคุณของทุเรียน ทุเรียน พริก สมุนไพร พืชสวนครัว สรรพคุณของพริก พริกขี้หนู
สะเดา สมุนไพร สมุนไพรไทย สะเดา กระเทียม สมุนไพร สมุนไพรไทย กระเทียม
พลูคาว สมุนไพร สมุนไพรไทย พลูคาว แตกวา สมุนไพร สมุนไพรไทย แตงกวา
ข่อย สมุนไพร สมุนไพรไทย ข่อย ผักบุ้ง สมุนไพร สมุนไพรไทย ผักบุ้ง
ฝรั่ง สมุนไพร สมุนไพรไทย ฝรั่ง ดาวเรื่อง สมุนไพร สมุนไพรไทย ดาวเรือง
เดือย สมุนไพร สมุนไพรไทย ลูกเดือย กานพลู สมุนไพร สมุนไพรไทย กานพลู
มะนาว สมุนไพร สมุนไพรไทย มะนาว แครอท สมุนไพร สมุนไพรไทย แครอท
เผือก สมุนไพร สมุนไพรไทย เผือก บอระเพ็ด สมุนไพร สมุนไพรไทย บอระเพ็ด
รางจืด สมุนไพร สมุนไพรไทย รางจืด พริกไทย สมุนไพร สมุนไพรไทย พริกไทย
เห็ดหอม สมุนไพร สมุนไพรไทย เห็ดหอม ตำลึง สมุนไพร สมุนไพรไทย ตำลึง
คื่นฉ่าย สมุนไพร สมุนไพรไทย คื่นฉ่าย ชะพลู สมุนไพร สมุนไพรไทย ชะพลู
มะเขือเทศ สมุนไพร สมุนไพรไทย มะเขือเทศ เตย สมุนไพร สมุนไพรไทย เตย
ชะอม สมุนไพร สมุนไพรไทย ชะอม หอมหัวใหญ่ สมุนไพร สมุนไพรไทย หอมหัวใหญ่
มังคุด ราชินีแห่งผลไม้ ผลไม้ สรรพคุณของมังคุด มังคุด มะขามป้อม สมุนไพร สมุนไพรไทย มะขามป้อม
มะระ สมุนไพร สมุนไพรไทย มะระ ฟักทอง สมุนไพร สมุนไพรไทย ฟักทอง
มะรุม สมุนไพร สมุนไพรไทย มะรุม มะตูม สมุนไพร สมุนไพรไทย มะตูม
มะพร้าว สมุนไพร สมุนไพรไทย มะพร้าว อบเชย สมุนไพร สมุนไพรไทย อบเชย
สะระแหน่ สมุนไพร สมุนไพรไทย สะระแหน่ มะละกอ สมุนไพร ผลไม้ สรรพคุณของมะละกอ มะละกอ
มะกรูด สมุนไพร สรรพคุณของมะกรูด สมุนไพรไทย มะกรูด ว่านมหาหงส์ สมุนไพร สมุนไพรไทย มหาหงส์
มะกอก สมุนไพร สมุนไพรไทย มะกอก กุยช่าย สมุนไพร สมุนไพรไทย กุยช่าย
ผักชีฝรั่ง สมุนไพร สมุนไพรไทย ผักชีฝรั่ง บัวบก สมุนไพร สมุนไพรไทย บัวบก
กวาวเครือขาว สมุนไพร สมุนไพรไทย กวาวเครือขาว กระชาย สมุนไพร สรรพคุณของกระชาย กระชาย
กระเพรา สมุนไพร สรรพคุณของกระเพรา สมุนไพรไทย กระเพรา หอมหัวแดง สมุนไพร สมุนไพรไทย หอมแดง
ผักชี สมุนไพร สมุนไพรไทย ผักชี โหระพา สมุนไพรไทย สมุนไพร โหระพา
กระถิน สมุนไพร สมุนไพรไทย กระถิน ทานาคา สมุนไพร สมุนไพรไทย ทานาคา
ย่านาง สมุนไพร สมุนไพรไทย ย่านาง ชะมดต้น สมุนไพร สมุนไพรไทย ชะมดต้น
ขิง สมุนไพร สมุนไพรไทย ขิง ข่า สมุนไพร สมุนไพรไทย ข่า
มะขาม สมุนไพร สมุนไพรไทย ผลไม้ มะขาม การบูร สมุนไพร สรรพคุณของการบูร การบูร
ม้ากระทืบโรง สมุนไพร สรรพคุณของม้ากระทืบโรง ม้ากระทืบโรง กัญชง สมุนไพร สมุนไพรไทย กัญชง
ชุมเห็ดเทศ สมุนไพร สมุนไพรไทย ชุมเห็ดเทศ ขมิ้นขัน สมุนไพร สมุนไพรไทย ขมิ้นชัน
หมามุ้ย สมุนไพร สมุนไพรไทย หมามุ่ย อัญชัน สมุนไพร สมุนไพรไทย อัญชัน
ผักโขม สมุนไพร สมุนไพรไทย ผักโขม ตะไคร้ สมุนไพร สรรพคุณของตะไคร้ ตะไคร้

สัตว์สมุนไพร คือ ส่วนประกอบของสัตว์ที่ใช้ประโยชน์ในการบำรุงร่างกายและการรักษาโรค มีความเชื่อต่างๆมากมายที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ที่คนนำมาใช้ประโยชน์ทั้ง สัตว์บก สัตว์น้ำ สัตว์ปีก และ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สมุนไพรที่ได้จากสัตว์ มีดังนี้

กระเพาะปลา สมุนไพร สมุนไพรไทย กระเพาะปลา ไขมันทรานซ์ ไขมัน สมุุนไพร ไขมันทรานส์
รังนกนางแอ่น สมุนไพร สมุนไพรไทย รังนกนางแอ่น น้ำผึ้ง สมุนไพร สมุนไพรไทย น้ำผึ้ง
หูแลาม สมุนไพร สมุนไพรไทย หูฉลาม ตุ๊กแก สมุนไพร สมุนไพรไทย ตุ๊กแก
ดีงู กินดีงูมีประโยชน์อย่างไร สมุนไพรจากสัตว์ สมุนไพรจากงูดีงูเห่า เปลือกไข่ไก่ สมุนไพร สมุนไพรไทย เปลือกไข่ไก่
รกคน สมุุนไพร สมุนไพรไทย รกคน

แร่ธาตุสมุนไพร คือ แร่ธาตุ ทรัพยากรที่ได้จากธรรมาชาติ ด้านธรณีวิทยา ซึ่งนำมาใช้ประโยชน์ด้านการบำรุงร่างกายและการรักษาโรค สมุนไพรที่ได้จากแร่ธาตุต่างๆ มีดังนี้

พิมเสน สมุนไพร สมุนไพรไทย พิมเสน เกลือ สมุนไพร สมุนไพรไทย เกลือ
สารส้ม สมุนไพร สมุนไพรไทย สารส้ม เหม่าเหล็ก สนิมเหล็ก เขม่าเหล็ก สมุนไพรบำรุงเลือดเหม่าเหล็ก
ทองคำ สมุนไพร ทองคำ นมผา หินปูนสมุนไพร สมุนไพรแก้ตาอักเบ สมุนไพรแก้ปวดนมผา
กำมะถันเหลือง ผงกำมะถันเหลือง สมุนไพร แร่ธาตุสมุนไพรกำมะถันเหลือง หรดากลีบทอง แก้ซางในปาก สมุนไพร แร่ธาตุสมุนไพรหรดาลกลีบทอง
การบูร สมุนไพร สรรพคุณของการบูร การบูร แร่ธาตุสมุนไพร หินอ่อนจีน บังลังก์ศิลา สมุนไพรรักษาแผลบัลลังก์ศิลา
สมุนไพรแร่ธาตุ หินปะการัง วัตถุธาตุ ช่วยรักษาแผลหินปะการัง แก้วแกลบ สมุนไพรแร่ธาตุ รสเย็น ช่วยขับปัสสาวะแก้วแกลบ
หินเขี้ยวมังกร สมุนไพรประเภทแร่ธาตุ ช่วยบำรุงหัวใจ บำรุงระบบประสาทหินเขี้ยวมังกร หินฟันม้า สมุนไพรแร่ธาตุ ช่วยแก้พิษ ลดอาการอักเสบหินฟันม้า
ตะกั่วนม ตะกั่วแข็ง สมุนไพรแร่ธาตุ แก้อักเสบตะกั่วนม ตะกั่วแข็ง กำมะถันแดง มาด สมุนไพรแร่ะาตุ รักษาแผลกำมะถันแดง
ดินสอพอง สมุนไพร สมุนไพรไทย ดินสอพอง ดินถนำส้วม ดินถนำถาน สมุนไพรแร่ธาตุ รักษาตาอักเสบดินถนำส้วม
ดินถนำถ้ำ ดินท้องถ้ำ สมุนไพรแร่ธาตุ รักษาตาอักเสบดินถนำถ้ำ ดินท้องเรือจ้าง สมุนไพรแร่ธาตุ รักษาเลือดออกตามไรฟัน บำรุงผิวดินท้องเรือจ้าง
ดินรังหมาร่า สมุนไพรแร่ธาตุ ช่วยแก้อักเสบ ช่วยแก้กระหายดินรังหมาร่า ดินขุยปู ดินรูปู สรรพคุณของดินรูปู ประโยชน์ของดินขุยปูดินขุยปู
ดินเหนียว สมุนไพรแร่ธาตุ ช่วยดับพิษอักเสบ แก้มึนชาดินเหนียว น้ำตาล สมุนไพร สมุนไพรไทย น้ำตาล
สมุนไพร ดินปะสิว โพแทสเซียมไนเตรต ดินประสิว จุนสี สมุนไพร สมุนไพรไทย จุนสี
ดีเกลือ สมุนไพร สมุนไพรไทย ดีเกลือ

ความหมายของสมุนไพร

สมุนไพร หมายถึง สิ่งที่นำมาใช้ประโยชน์เป็นยาเพื่อการรักษาโรคและบำรุงร่างกาย ซึ่งได้จากพืช สัตว์ หรือ แร่ธาตุ โดยมีการผสม ปรุง หรือ แปรสภาพ ในรูปแบบต่างๆ ทั่วไปหากกล่าวถึง สมุนไพร คนทั่วไปมักนึกถึง พืชที่สามารถนำมาทำเป็นยาเท่านั้น แต่จริงๆแล้ว สมุนไพร หมายรวมถึง สัตว์ หรือ แร่ธาตุจากธรรมชาติด้วย อ้างอิงตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525

ยาสมุนไพร หมายถึง ยาที่ได้จากพฤกษาชาติ สัตว์ หรือ แร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสมปรุงหรือแปรสภาพ เช่น ส่วนต่างๆของพืช ราก ลำต้น ใบ ดอก หรือ ผล ไม่ได้ผ่านกระบวนการแปรรูปใดๆ แต่สำหรับในทางการค้าแล้ว พืชเพื่อการรักษาโรคจะถูกแปรรูปให้อยู่ในรูปแบบต่างๆ เพื่อความสะดวกในการใช้และจำหน่าย เช่น ทำให้เล็กลง บดเป็นผง หรือ อัดเป็นแท่ง

ประโยชน์ของสมุนไพร

สำหรับประโยชน์ของสมุนไพร มีหลากหลายแต่วัตถุประสงค์หลักของการใช้พืชเพื่อการรักษาโรค คือ การรักษาโรค และ ทำให้มนุษย์หายจากอาการเจ็บป่วยต่างๆ เราสามารถสรุปประโยชน์ของพืชเพื่อการรักษาโรค ได้ดังนี้

  • สามารถใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตยา
  • สามารถเป็นวัตถุดิบที่ใช้เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ตัวยา เช่น น้ำมันพืช สามารถนำมาทำเป็นวัตถุดิบสารตั้งต้นในการผลิตบีตาซิโตสเตียรอล ( beta sitosterol ) ซึ่งจะนำมาผลิตยาสเตียรอยด์ได้ เป็นต้น
  • สามารถเป็นตัวอย่างของการศึกษาสารเคมีที่มีคุณสมบัติเหมือนตัวยาในพืชเพื่อการรักษาโรค
  • สามารถเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับดูแลสุขภาพ เช่น โสม นมผึ้ง เกสรผึ้ง เป็นต้น

บทบาทของสมุนไพรด้านเศรษฐกิจ

พืชเพื่อการรักษาโรคในปัจจุบันมีบทบาทและมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ ซึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มีโครงการสมุนไพรกับสาธารณสุขมูลฐาน โดบได้สนับสนุนให้มีการใช้พืชเพื่อการรักษาโรคเพื่อนำมาบำบัดโรค ในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐให้มากขึ้น รวมถึงมีการส่งเสริมให้มีการปลูกพืช เพื่อนำเอามาเป็นส่วนผสมของตำรับยา พืชเพื่อการรักษาโรคจะช่วยให้ประเทศสามารถประหยัดเงินในการนำเข้ายาจากต่างประเทศ และสร้างอาชีพให้กับชุมชนได้

นอกจากนั้น มีการส่งเสริมให้มีการศึกษาค้นคว้า เพื่อพัฒนายาจากพืช และ นำมาพัฒนาให้อยู่ในรูปแบบที่สะดวกต่อการบริโภค เช่น แคปซูล ยาเม็ด ครีม ขี้ผึ้ง เป็นต้น รัฐบาลได้สนับสนุนให้มีการวิจัยพืชต่างๆ ที่มีสารสำคัญที่มีคุณสมบัติทางเคมี เพื่อใช้ในการรักษาโรค รวมถึงส่งเสริมให้ศึกษาถึงความเป็นพิษและผลข้างเคียงจากการใช้พืชต่างๆในการรักษาโรค เพื่อความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์

ความสำคัญของสมุนไพรด้านการสาธารณสุข

มีหลักฐานว่ามนุษย์รู้จักการใช้ พืชเพื่อการรักษาโรคในการรักษาโรคมากว่า 6,000 ปี ซึ่งในระยะหลังๆ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์พัฒนาก้าวหน้ามากขึ้น มีการผลิตยาจากสารเคมี มีการสังเคราะห์ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ได้ง่าย สะดวกสบายกว่าการใช้พืชเพื่อการรักษาโรคแบบเดิมๆ ทำให้ความต้องการในการใช้พืชเพื่อการรักษาโรคลดลง แต่ในทางการสาธารณสุข ยอมรับว่า สารต่างๆที่สกัดจากสมุนไพรมีสรรพคุณที่ดีกว่ายาที่สังเคราะห์ได้ทางวิทยาศาสตร์ และ ปัจจุบันยังมีพืชอีกหลายชนิดที่ยังไม่ได้มีการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนานำมาทำตัวยา

นโยบายสาธารณสุขขั้นมูลฐานของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2522 มีโครงการสาธารณสุขขั้นมูลฐานในแผนพัฒนาการสาธารณสุข ตามแผนพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 ปี พ.ศ. 2520 – 2524  ต่อเนื่องจนถึงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535 – 2539 ระบุใหัพัฒนาพืชเพื่อการรักษาโรคและการแพทย์แผนไทยในงานสาธารณสุขมูลฐาน โดยรายละเอียด ดังนี้

  • สนับสนุนและพัฒนาวิชาการและเทคโนโลยีพื้นบ้านอันได้แก่ การแพทย์แผนไทย เภสัช กรรมแผนไทย การนวดไทย พืชเพื่อการรักษาโรค และเทคโนโลยีพื้นบ้าน เพื่อใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา สุขภาพของชุมชน
  • สนับสนุนและส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง โดยใช้ พืชเพื่อการรักษาโรค การแพทย์พื้นบ้าน การนวดไทย ในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้เป็นไปอย่างถูกต้องเป็นระบบสามารถปรับประสานการดูแลสุขภาพแผนปัจจุบันได้ อาจกล่าวได้ว่าสมุนไพรสำหรับสาธารณสุขมูลฐาน คือ สมุนไพรที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ และการรักษาโรคและอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น เพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น

ความสำคัญของสมุนไพรด้านเศรษฐกิจ

พืชเพื่อการรักษาโรค จัดเป็นพืชเศรษฐกิจอีกประเภทหนึ่งของไทย ซึ่งสมุนไพรที่ประเทศไทยส่งออก เช่น กระวาน ขมิ้นชัน มะขามเปียก เป็นต้น พืชเหล่านี้มีความต้องการของตลาดต่างประเทศสูงมาก กรมวิชาการเกษตรและกรมส่งเสริมการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีโครงการวิจัยพัฒนาระบบการผลิต การตลาด และ การสร้างงานในเกี่ยวกับพืชเพื่อการรักษาโรค ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2530-2534 เพื่อพัฒนาคุณภาพและแหล่งปลูกพืชเพื่อการรักษาโรคเพื่อการส่งออก โดยมีพืช 13 ชนิดที่ได้รับการศึกษา เพื่อส่งเสริม คือ มะขามแขก กานพลู เทียนเกล็ดหอย ดองดึง เร่ว กระวาน ชะเอมเทศ ขมิ้น จันทร์เทศ ใบพลู พริกไทย ดีปลี และ น้ำผึ้ง เป็นต้น

ความสำคัญของสมุนไพรต่อการพัฒนาประเทศ

ประเทศไทยมีสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสม สำหรับการเจริญเติบโตของพืชหลายๆชนิด และด้วยภูมิปัญญาของมุษย์ สัญชาติญานการเอาตัวรอด จึงมีการนำเอาพืชต่างๆมาฝช้รักษาโรคมากมาย ผ่านการลองผิดลองถูก จนเกิดเป็นภูมิปัญาด้านการรักษาโรค แต่การใช้ประโยชน์จากพืชเพื่อรักษาโรคต้องใช้อย่างระมัดระวัง และ เข้าใจโรคต่างๆอย่างแท้จริง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี พ.ศ. 2560 มาตรา 55 ว่าด้วย การสนับสนุนให้มีการพัฒนาด้านการแพทย์แผนไทยในการบริการสุขภาพ โดยบัญญัติไว้ว่า รัฐต้องดําเนินการให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง เสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทย ให้เกิดประโยชน์สูงสุด บริการสาธารณสุขต้องครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพด้วย รัฐต้องพัฒนาการบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพและมีมาตรฐาน และ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี พ.ศ. 2560  มาตรา 69 ว่าด้วยเรื่อง การส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมเพื่อสร้างเศรษฐกิจให้กับ ประเทศ และการสร้างนวัตกรรมยาพืชเพื่อการรักษาโรคก็นับเป็นโอกาสทองของคนไทย

รูปแบบของสมุนไพร

การนำเอาสิ่งต่างๆจากธรรมาชาติ ไม่ว่าจะเป็น พืช สัตว์ หรือ แร่ธาตุ เพื่อนำมาเป็นพืชเพื่อการรักษาโรคในการรักษาโรค เราสามารถจำแนกรูปแบบของสมุนไพร ดังนี้

  • รูปแบบของเหลว เป็นการนำเอาพืชมาต้มกับน้ำ หรือ คั้นเอาน้ำจากพืช หรือนำเอามาดองกับสุรา เป็นยาดอง
  • รูปแบบของแข็ง เป็นลักษณะของยาลูกกลอน คือ การนำเอาส่วนต่างของพืชไปตากแห้ง และนำมาบดเป้นผล และ นำมาผสมกัยน้ำผึ้งและปั้นเป็นก้อนกลมๆ เพื่อให้กินง่าย
  • รูปแบบกึ่งแข็งกึ่งเหลว เป็นลักษณะของยกที่ใช้พอก โดยนำส่วนต่างๆของพืชมาบดหรือตำให้แหลก และนำมาพอกรักษาโรค
  • รูปแบบการอบไอน้ำหรือรมควัน เช่น การนำมารมควัน เพื่อใช้ในการสูดดมกลิ่น เพื่อรักษาแผล หรือ โรคเดี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ

การนำ สมุนไพรไทย มาใช้ประโยชน์สำหรับรักษาโรค ด้วยการปรุงเพื่อรับประทาน ทา หรือประคบ นั้น แพทย์แผนโบราณ มีรูปแบบการปรุงยาจากสมุนไพร หลายรูปแบบ รายละเอียด ดังนี้

  • การต้ม เป็นการนำเอาพืชมาต้ม นำน้ำที่ได้จากการต้มมาใช้รักษาโรค
  • ยาชง เป็นการนำเอาพืชมาทำให้อยู่ในรูปแบบผง มาผสมกับน้ำร้อน เพื่อนำมาดื่มกิน
  • ยาดอง เป็นการนำเอาพืชมาดอง เนื่องจากพืชบางอย่างไม่เหมาะสมต่อการทานสด การดองเป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้กินง่ายและได้ประโยชน์
  • การปั้นเป็นยาลูกกลอน เป็นการบดเป็นผงและผสมกับน้ำผึ้ง และปั้นเป็นก้อนให้รับประทานได้ง่าย
  • การคั้นน้ำ เป็นอีกรูปแบบ ที่นิยมใช้กับพืชสดๆ คั้นเอาน้ำจากผล หรือ ใบของพืชมาใช้ประโยชน์
  • ยาพอก เป็นลักษณะของการรักษาภายนอก เช่น แผลสด แผลติดเชื้อ เป็นต้น

หลักการในการใช้สมุนไพร

สำหรับหลักการสำหรับการใช้พืชเพื่อการรักษาโรค เพื่อการบำรุงร่างกายและการรักษาโรค มีหลักการในการปฏิบัติสำหรับการใช้งาน ดังนี้

  • สำหรับอาการของโรคที่ต้องรับการรักษาอย่างเร่งด่วน เช่น ไข้สูงผิดปรกติ อาการซึม อาการไม่รู้สึกตัว การปวดอย่างรุนแรง อาเจียนเป็นเลือด อาการตกเลือดจากช่องคลอด อาการท้องเดินอย่างรุนแรง ควรนำส่งแพทย์เพื่อรับการรักษา ไม่ควรรักษาด้วยตนเอง
  • ห้ามใช้ในปริมาณที่มาก และ ห้ามใช้ติดต่อกันนานเกินไป เพราะ จะเกิดผลเสียมากกว่าการรักษาได้
  • สำหรับโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรคอย่างชัดเจน ควรรับการรักษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ไม่ควรรักษาด้วยตนเอง ด้วยการใช้พืชเพื่อการรักษาโรค
  • หากเกิดอาการแพ้ หรือร่างกายผิดปรกติ ควรหยุดการใช้ทันที
  • การรักษาโรคและบำรุงร่างกาย ควรได้รับคำแนะนำการใช้งานจากผู้มีความรู้

การเก็บรักษาสมุนไพร

  • ควรเก็บรักษาไว้ในพื้นที่ไม่ร้อนและไม่มีความชื้น โดยสถานที่เก็บต้องเป็นพื้นที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี
  • ต้องเก็บรักษาไว้ในที่แห้ง เพื่อป้องกันเชื้อรา สถานที่จัดเก็บต้องให้แห้งจริงๆ
  • ควรแยกประเภทให้ชัดเจน เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการหยิบผิด ซึ่งหากใช้ผิดก็เป็นอันตรายกับคนป่วยได้
  • ต้องตรวจคุณภาพของพืชเพื่อการรักษาโรคอย่างสม่ำเสมอ เพื่อรักษาคุณภาพเพื่อจะได้รักษาอย่างมีประสิทธิภาพด้วย

คำแนะนำการใช้สมุนไพร

สำหรับการใช้พืชเพื่อการรักษาโรค เป็นเสมือนดาบสองคม สามารถให้คุณและโทษได้ ซึ่งการใช้ประโยชน์ต้องใช้อย่างถูกต้อง และ ใช้ในปริมาณที่เหมาะสม จึงจะเป็นสิ่งที่ดีที่สุด

บทสรุป

สมุนไพร สามารถนำมาใช้ประโยชน์เพื่อการรักษา หรือ ป้องกันการเกิดโรคได้ เนื้อหาต่างๆของเราได้รวบรวม พืชใกล้ตัว ชื่อวิทยาศาสตร์ ชิ่ือเรียกอืนๆตามแต่ละท้องถิ่น ลักษณะของพืช และสรรพคุณการรักษาโรค และ โทษจากการใช้ ตลอดจนวิธีใช้ แต่การรักษาโรคต้องได้รับการรักษาและวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรคจากแพทย์เท่านั้น เราไม่แนะนำให้ท่านศึกษาข้อมูลและนำพืชเพื่อการรักษาโรคไปใช้เพื่อการรักษาโรค โดยขาดคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ

สุดยอดพืชเพื่อการรักษาโรคที่ได้รับความนิยมในการทำเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ

  • รางจืด สรรพคุณ ช่วยขับสารพิษ ช่วยสมานแผล ใช้ลดไข้ แก้ท้องเสีย แก้ท้องร่วง แก้แพ้ผื่นคัน แก้เบาหวาน ลดน้ำตาลในเส้นเลือด
  • ว่านหางจระเข้ สรรพคุณรักษาแผล บำรุงผิว รักษาแผลในกระเพาะอาหาร และ บำรุงเส้นผม นิยมนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการทำเครื่องสำอางค์ สำหรับผิว สำหรับผม
  • ดอกอัญชัน สรรพคุณช่วยขับปัสสาวะ บำรุงเส้นผม และเป็นยาระบายอ่อนๆ แก้อาการคลื้นไส้ อาเจียน ใช้บำรุงความงาม
  • ดอกคำฝอย สรรพคุณช่วยขับประจำเดือน บำรุงหัวใจ บำรุงโลหิต ลดไขมันในเลือด ขับเสมหะ แก้โรคผิวหนัง แก้บวม บำรุงระบบประสาท
  • ใบบัวบก สรรพคุณช่วยบำรุงสายตา ช่วยแก้อาการร้อนในกระหายน้ำ ลดไข้ตัวร้อน
  • ใบเตย สรรพคุณช่วยลดกระหายน้ำ บำรุงหัวใจ บำรุงสายตา
  • ตะไคร้ สรรพคุณช่วยขับลม ช่วยย่อยอาหาร แก้อาการปวดท้อง ท้องเสีย ช่วยให้ผ่อนคลาย

Last Updated on November 7, 2024